วันศุกร์ที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2556

บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่ 18

วันที่ 30 กันยายน 2556

เวลา 14.10-17.30น.

สรุปวิจัย

เรื่องความสามรถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับ
การจัดกิจกรรมกระบวนทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน

       แผนการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน จัดทำขึ้นเพื่อพัฒนาความสามารถ
ในการวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยที่เกิดจากการจำแนก การเปรียบเทีนย การจัดหมวดหมู่และการหาความสัมพันธ์
จากการได้ออกมาเรียนรู้นอกห้องเรียน  เด็กจะได้มีโอกาศลงมือปฏิบัติ สำรวจหรือทดสอบต่างๆ ซึ่งเป็น
จุดเริ่มต้นในการหาความรู้ใหม่ๆ จะต้องประกอบไปก้วยกระบวนการสืบค้น หาความรู้จากเนื้อหาที่เกิดขึ้น
จุดประสงค์
1.เพื่อให้เด็กเกิดการเรียนรู้โดยการสังเกตวิเคราะห์แยกแยะได้
2.เพื่อให้เด็กได้รับการเรียนรู้จำแนก เปรียบเทียบ  การจัดหมวดหมู่ การหาความสัมพันธ์
3.เพื่อให้เด็กสามารถอยู่ร่วมกันกับผู้อื่นได้
4.เพื่อให้เด็กมีเจตคติที่ดีต่อกรเรียนทางวิทยาศาสตร์
การจัดกิจกรม
1.แนะนำเนื้อหาการเรียนรู้ให้เด็กๆได้ทราบถึงการที่จะออกไปเรียนนอกห้องเรียน
2.ในขณะที่ครูพานักเรียนไปเรียนรู้นอกห้องเรียนคุณครูต้องบอกข้อตกลงก่อนที่จะพานักเรียนออกไป
เพื่อฝึกความมีะเบียบและต้องรู้กฏกติกาทุกครั้ง
3.เมื่อเรียนจบในแต่ละครั้งครูและนักเรียนสรุปในสิ่งต่างๆ ที่ได้พบเห็น สัมผัสหรือทดลองพรอมทั้ง
สามารถสังเกต แยกแยะ จำแนก จดหมวดหมู่ เปรียบเทีนบและหาความสัมพันธ์ได้
การประเมิน
1.การสังเกตการณ์ที่เด็กได้ลงมือปฏิบัติจริงจากการพาออกนอกห้องเรียน
2.สังเกตพฤติกรรมเด็มในขณะที่พาเด็กออกมาเรียนนอกห้องเรียน
3.สังเกตการตอบคำถามเพื่อจบเนื้อหาแต่ละครั้ง


  • เพื่อนนำเสนอการทดลองทางวิยาศาสตร์
การใช้คำถามระหว่างการทดลอง

1."เด็กๆเห็นอะไร...บ้างคะ"
2."เด็กคิดว่าสามารถเอาไปทำอะไรได้บ้าง?"
3. ถ้าครูนำ....วาง/ใส่....เด็กๆคิดว่าจะเกิดอะไรขึ้น "
4.เรามาทดลองไปพร้อมๆกันนะค่ะ  ให้เด็กๆสังเกตดูนะค่ะว่าจะเกิดอะไรขึ้น
5.สรุปผลงานทดลอง
  • ส่งสื่อของเล่นและสื่อเข้ามุม
เสื่อของเล่นลูกข่างหรรษานำมาต่อยอดเป็นสื่อเข้ามุม ซึ่งมีลูกข่างหลากหลายรูปทรง เช่น สี่เหลี่ยม  สามเหลี่ยม อื่นๆ  เพื่อให้เด็กได้บูรณาการทางคณิตศาสตร์เรื่องรูปทรงและเปรียบเทียบระยะเวลาการหมุนของลูกข่างแต่ละรูปทรงด้วยค่ะ!



บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่ 17

วันที่ 23 กันยายน 2556

เวลา 14.10-17.30น.

  • ให้เพื่อนกลุ่มที่ได้รัยมอบหมายในสัปดาห์ที่แล้ว สมมุติตัวเองเป็นครูสอนการทำข้าวผัด
  • โดยบอกส่วนผสมและขั้นตอนการทำอย่างละเอียด 
  • ทำข้าวผัดไปพร้อมๆกัน
  • การสาธิต
1."เด็กๆเห็นอะไร...บ้างคะ"
2."เราจะนำ...ไปทำอาหารอะไรได้บ้าง"
3."วันนี้เราจะมาทำข้าวผัดกัน เด็กรู้ไหมคะว่าต้องใส่อะไรก่อน"
4.ให้เด็กลงมือทำร่วมกับครู
5.ให้เด็กสังเกตสีของอาหาร "ถ้าครูใส่...ลงไปในกระทะ เด็กๆคิดว่าจะเกิดอะไรขึ้น"
6.ครูิอธิบาย
กำลังตั้งใจผัดข้าวผัด

เพื่อนแต่ละกลุ่มกำลังตั้งใจผัดข้าวผัด


  • อาจารย์เบียสรุปกิจกกรม cookking

บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่16

วันที่ 16 กันยายน 2556

เวลา 14.10-17.30น.


เรียนกับ อาจารย์ตฤณ  แจ่มถิน ( อ.เบียร์ )

-ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่ม ออกเป็น 5 กลุ่ม  เพื่อทำแผน เมนู Cooking 


กลุ่มดิฉันนทำแซนวิชไข่ดาว

วัถุดิบในการทำแซนวิชไข่ดาว

วิธีการทำแซนวิชไข่ดาว

แผนการสอน
แผนการสอน
นำเสนอผลงานของกลุ่มตัวเอง
    ร่วมกันโหวต เมนูแต่ละกลุ่ม เพื่อที่จะมาทำอาหารในสัปดาห์หน้า ผลสรุปคือได้ทำข้าวผัด  โดยให้เพื่อนกลุ่มที่ทำข้าวผัดรับผิดชอบวัถุดิบและอุปกรณ์มาให้เพื่อนทำให้อาทิตย์ถัดไป

วันศุกร์ที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2556

บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่15

วันที่ 8 กันยายน 2556

เวลา 14.10-17.30น.

**เรียนชดเชยวันที่อาจารย์ติดประชุม**

  • ส่งสื่อเข้ามุม
  • อาจารย์แนะนำและบอกข้อที่ควรแก้ไขของสื่อแต่ละกลุ่ม
  • เนื่องจากเพื่อนมาเรียนน้อย อาจารย์จึงเช็คชื่อและปล่อยให้นักศึกษาไปแก้ไขสื่ออีกรอบ

บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่14

 วันที่ 2 กันยายน 2556

เวลา 14.10-17.30น.

**ไม่มีการเรียนการสอน**

(เนื่องจากอาจารย์ติดประชุม)

แต่ได้มอบหมายงานให้ทำคือประดิษฐ์สื่อเข้ามุมวิทยศาสตร์

บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่13

วันที่ 26 สิงหาคม 2556

เวลา 14.10-17.30น.


**ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจาก อาจารย์ให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมใน
คณะศึกษาศาสตร์**

บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่12

 วันที่ 19 สิงหาคม 2556

เวลา 14.10-17.30น.


นำเสนอการลดลองทางวิยาศาสตร์

เรื่องรีโมทควบคุมลูกโป่ง

อุปกรณ์

1.ลูกโป่ง
2.กระป๋องน้ำอัดลม

ขั้นตอนการทดลอง

1.นำลูกโป่งที่เป่าแล้ว ไปถูกับเส้นผมประมาณ1นาที


2. นำลูกโป่งมาวางข้างกระป๋องน้ำอัดลม โดยไม่ให้ติดกับกระป๋อง
3. กระป๋องน้ำอัดลมจะเคลื่อนที่ตามลูกโป่ง


หลักการทางวิทยาศาสตร์
      เมื่อนำลูกโป่งไปถูกับเส้นผม ทำให้เกิดการเสียดสีกัน จึงทำให้เกิดไฟฟ้าสถิต 
ไฟฟ้าสถิตเป็นพลังงานที่สามารถทำให้กระป๋องน้ำอัดลมเคลื่อนที่ได้นั่นเองคะ!

บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่11

 วันที่ 17 สิงหาคม 2556

เวลา 14.10-17.30น.

** เรียนชดเชย  เนื่องจากหยุด วันแม่ **

  •  นักศึกษา ที่ยังทำของเล่นเข้ามุมไม่เสร็จ อาจารย์ให้จับกลุ่ม  2-3 คนและให้นักศึกษาเลือกกล่องที่เตรียมไว้ให้ซึ่งมีหลายขนาด กลุ่มละ 1 กล่อง เพื่อประดิษฐ์ของเล่นเข้ามุม 



อาจารย์อธิบายและแนะนำการทำสื่อ
  • นักศึกษานำเสนอการทดลองวิทยาศาสตร์ที่เตรียมมา


บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่10

 วันที่ 12 สิงหาคม 2556

เวลา 14.10-17.30น.

*หยุดชดเชยวันแม่แห่งชาติ*



บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่9

วันที่ 5 สิงหาคม 2556

เวลา 14.10-17.30น.

*ไม่มีการเรียนการสอน*

(อยู่ในช่วงสอบกลางภาค)

บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่8

วันที่ 29 กรกฎาคม 2556

เวลา 14.10-17.30น.


(ไม่มีการเรียนการสอน)

เนื่องจาก อาจารย์ให้นักศึกษาอ่านหนังสือสอบ 



บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่7

วันที่ 28 กรกฎาคม 2556

เวลา 12.00-14.00น.

  • เรียนชดเชยวันอาสาฬหบูชา
นำเสนอสื่อของเล่น


สื่อของเล่นลูกข่างจากแผ่นซีดีเก่า

อุปกรณ์


·      
      1.แผ่นซีดี   2. ลูกปิงปอง    3.ฝาขวดน้ำ    4.กาว   5.กระดาษสี     6.กรรไกร   7. กาวตราช้าง  8. กระดาษลัง 

    

    ขั้นตอนการทำ

1. นำแผ่นซีดีเก่าๆ มาติดกับลูกปิงปองตรงด้านที่เป็นเงาสีเงิน


    

2. นำกระดาษสีสวยๆ มาติดทำลวดลายด้านบน





3. ติดทับอีกครั้งด้วยฝาขวดน้ำ





    4. นำไปหมุนเล่นสวยๆเหมือนลูกข่าง


     
     หลักการทางวิยาศาสตร์


      ลูกข่างจะหมุนเป็นวงกลม ด้วยแรงเท่าๆกันทุกทิศทาง ก็เลยรักษา

สภาพการหมุนไว้ได้








บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่6

วันที่ 21 กรกฎาคม 2556

เวลา 14.10-17.30น.




**หยุดชดเชย**


บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่5

วันที่ 15 กรกฎาคม 2556

เวลา 14.10-17.30น
  • นำเสนอแผนการทำสื่อของเล่นเด็ก
อาจารย์คอมเม้นบอกข้อที่ควรปรับปรุงและเพิ่มเติม

  • การบ้าน
1. ทำของเล่นวิทยาศาสตร์ที่เด็กสามารถทำได้
2.ทำของเล่นเข้ามุม
3.หาวิธีการทดทองทางวิทยาศาสตร์ที่แปลกใหม่




วันเสาร์ที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่4

วันที่ 8 กรกฎาคม 2556

เวลา 14.10-17.30น.

  • ทำสื่อภาพเคลื่อนไหวและภาพซ้อนจากกระดาษ A4


ภาพซ้อน


ภาพเคลื่อนไหว




  • ดู VDO เรื่อง มหัศจรรย์ของน้ำ 


สรุปจากVDO

           สิ่งต่างๆในโลกนี้ล้วนแล้วแต่ต้องการน้ำทั้งสิ้น น้ำที่มีอยู่ในร่างกายของคนเรามี70 %  มีอยู่ในผักผลไม้90% น้ำจำเป็นสำหรับร่างกายสิ่งมีชีวิตทุกประเภท ถ้าร่างกายขาดน้ำก็จะอ่อนเพลีย น้ำช่วยปรับสมดุลและอุณหภมูิในร่างกาย คนเราขาดน้ำได้แค่ 3 วันเท่านั้น อูฐ ขาดน้ำได้ 10 วัน                              


 คุณสมบัติของน้ำมี 3 สถานะ ดังนี้      




แรงกดดันของน้ำ


                                               


                                         ใบมีดโกนลอยบนผิวน้พเนื่องจากแรงตึงผิว                                                                                                                           





                                                                                                                                                                                                                                                                                 

บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่3

วันที่ 1 กรกฎาคม 2556
เวลา 14.10-17.30น

  • สรุปวิทยาศาสตร์ (Mind Mapping)  

    • ดู VDO ความลับของแสง 
    • สรุป         
    1. แสงเป็นเคลื่อนชนิดหนึ่ง มีความยาวสั้น เคลื่อนที่เร็ว 3 แสน กิโลเมตร ต่อ วินาที
    2. แสงช่วยในการมองเห็น/แสงสะท้อนจากวัตถุสู่ตา ซึ่งจะมองเห็นวัตถุได้ แสดงว่าตาของเราเป็นจอสะท้อนแสงได้
    3. เกิดการเปลี่ยนแปลงปริมาณแสงเร็วเกินไป ทำให้เกิดการแสบตา มึนหัว
    4. การเคลื่อนที่ของแสงเดินทางเป็นเส้นตรงจนถึงวัตถุที่มากั้นและสะท้อนสู่ตาเราเช่นเดิม เช่น กระดาษสีดำ2แผ่นเจาะรูตรงกลางเท่ากัน
    5. วัตถุที่แสงส่องได้ในโลกนี้ คือ 1.วัตถุทึบแสง เช่น ไม้ หิน เหล็ก และตัวเรา 2.วัตถุวัตถุโปร่งแสง แสงจะทะลุบางส่วนเท่านั้น เช่น กระจกผ้า 3. วัตถุโปร่งใส แสงผ่านได้ทั้งหมด เช่น กระจกใส พลาสติกใส
    6. เงากับแสง เงาตรงกันข้ามกับแสงเกิดขึ้นได้เพราะแสงเงาเกิดขึ้นทุกครั้งที่มีวัตถุมาวางขวางทาง

    บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่2


    วันที่24 มิถุนายน 2556

    เวลา 14.10-17.30น.


    • จับกลุ่ม กลุ่มละ 6 คน อ่านและสรุป พร้อมนำเสนอหน้าชั้นเรียน โดยมีหัวข้อดังนี้

    1. ความหมายความสำคัญ
    2. พัฒนาการด้านสติปัญญา
    3. การเรียนรู้
    4. แนวคิดพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
    5. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

    • แลกเปลี่ยนข้อมูลเพิ่มเติมจากเพื่อนในแต่ละกลุ่ม แล้วนำเสนอหน้าชั้นเรียน






    • ดู VDO เรื่อง อากาศมหรรศจรรย์   


    • วันอาทิตย์ที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2556

      บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่1

      วันที่17 มิถุนายน 2556

      เวลา 14.10-17.30น.


      • ปฐมนิเทศนักศึกษา (การแต่งกาย,กฏระเบียบในห้องเรียน)
      • วิชานี้น่าจะได้ความรู้อะไร?ทักษะอะไร?และนำไปใช้พัฒนาตนเองอย่างไร?
      • ทำบล๊อค,ลิ้งค์แนวการสอน